สรุปผลการเข้ารับฟังการบรรยายผลงานวิชาการ
สรุปผลการเข้ารับฟังการบรรยายผลงานวิชาการ
1.การพัฒนาแอปพลิเคชันต้นแบบแนะนำสัตว์และแมลงมีพิษในสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติในประเทศไทยด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงออคเมนเต็ดเรียลลิตี้ (ศัชชญาส์ ดวงจันทร์)
สรุปผลการวิจัย
ช่วยในการให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และป้องกันแมลงมีพิษ และเป็นการนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยมีความสอดคล้องกันกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0
2.การพัฒนากระบวนการคั่วกาแฟและเครื่องคั่วกาแฟขนาดเล็กโดยใช้สเปาเตดเบด (สุชน ทรัพย์สิงห์)
สรุปผลการสิจัย
1.การคั่วกาแฟด้วยเทคนิคสเปาเตดเบดแบบมีท่อมาก๊าซสามารถคั่วกาแฟได้สมำ่เสมอ ทั้ง 4 ระดับ ระดับการคั่ว (city l ),city,full city และ ltalian) โดยใช้อุณหภูมิลมร้อนอยู่ในช่วง 9.50 - 10.25 นาที
2.ระดับการคั่ว (Degree of roast) มีความสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางกายภาพของกาแฟที่พิจารณาในการทดลอง ยกเว้นความชื้นของเมล็ดกาแฟ โดยค่าสีของกาแฟคั่ว L;a และ b มีค่าการสูญเสียมวลของกาแฟคั่วเพิ่มขึ้นครบระบบคั่ว ส่วนค่าความหนาแน่นของเมล็ดกาแฟคั่วมีค่าลดลงตามระดับการคั่ว
3.ที่ระดับการคั่วตัวเดียวกันการคั่วที่ใช้อุณหภูมิที่สูงขึ้น มีแนวโน้มที่ความสูญเสียและเวลาที่ใช้ในการคั่วลดลง
3.การศึกษาการออกแบบผังกระบวนการผลิตแบบลีนโดยใช้แผนผังความสัมพันธ์ของกิจกรรมกรณีศึกษาบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ AA จังหวัดนครราชสีมา (อนิรุธ พิพัฒน์ประภา)
สรุปผลการวิจัย
ขั้นตอนการวิจัย 6 ขั้นตอน PHDA
1.ศึกษาสถานที่ประกอบการ
2.ค้นหาระบุปัญหา
3.ระบุปัญหา
4.แก้ปัญหา
5.ผลการศึกษา
6.สรุปผลการศึกษา
แผนผังแบบลีน
การขนย้ายชิ้นงานระหว่างแผนก 55.23 เมตร/วัน
เวลาในการเคลื่อนย้ายการผลิต 4.55 นาที
สรุป
ลดระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายได้เยอะ เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทำงาน
4.ผลการเปรียบเทียบปริมาณการเกิดก๊าซชีวภาพระหว่างกรณีใช้และไม่ใช้นำ้ร้อนสำหรับระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบสองขั้นตอนจากมูลสุกร (ประพันธ์พงษ์ สมศิลา)
สรุปผลการวิจัย
ชีวภาพก๊าซจากมูลสุกร
-ใช้นำ้ร้อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โดยมี 2 ขั้นตอนในการหมัก
-อุณหภูมิต่างๆในกรณีไม่ใช้นำ้ร้อน ในอัตรา 50:50
1.กรณีในการใช้น้ำร้อนเข้ามาช่วยในกระบวนการหมักชีวภาพแบบ 2ขั้นตอนสามารถช่วยในการเกิดเเก๊สเร็วกว่าการหมักไม่ใช่น้ำร้อน
2.การเพิ่มอุณภูมิในถังหมักช่วยเร่งปฏิกิริยาในการย่อยและจะเห็นได้ว่ามูลก๊าชดีกว่า 3.ค่าความเป็นกด-ด่าง ในถังหมักก๊าช กรณีใช้น้ำร้อนจะเป็นด่าง
3.ปริมาณมนการใช้น้ำร้อนสูงกว่ากรณีไม่ใช่น้ำร้อน 27.09%
5.การศึกษาประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์โดยใช้วัสดุพรุนเป็นแหล่งสะสมความร้อน (ประพัฒน์ บุญเต็ม)
สรุปผลการวิจัย
ผลการทดลงพบว่าค่าApจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มขึ้นซึ่งจะเป็นไปตามหลักของกลศาสตร์ของโลกคือเมื่อความเร็วการไหลเพิ่มขึ้นก้อจะให้ระหว่างอวกาศส่งผลให้Apมีค่าสูงขึ้น
6.การศึกษาการซึมผ่านและสัมประสิทธิ์ความเฉื่อยของวัสดุพรุนชนิดตาข่ายสแตนเลส (สำเนาว์ เสาวกูล)
สรุปผลการวิจัย
ค่าการซึมผ่านคือค่าความสามารถของวัสดุพรุนที่ยอมให้ของไหลผ่านตัวมันเอง ค่าสัมประสิทธิ์การเฉื่อยคือค่าด้านการไหลของการไหลโดยทั่วไปใช่กรณีที่ของไหลผ่านวัสดุพรุน
7.การศึกษาและการสร้างแสงอาทิตย์เทียมขนาดเล็กสำหรับการทดสอบแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ตามมาตรฐาน EN-12975-2 (ธนากรยะ สูงเนิน)
สรุปผลการวิจัย
- การกระจายตัวของเข้มความแสงจะเริ่มสมำ่เสมอเมื่อระยะห่างระหว่างหลอดไฟกับพื้นที่รับแสงเพิ่มขึ้น
- ระยะห่างระหว่างหลอดไฟกับพื้นที่รับแสงเท่ากับ 77 cm จะมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน EN-12975-2 มากที่สุด คือ มีค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 10.81 % มีค่าเข้มแสงเฉลี่ยเท่ากับ 703.72 W/m
8.การประยุกต์ใช้เว็บยูสเซสไมนิ่งเทคนิคเพื่อการศึกษาปัญหาการใช้งานอินเตอร์เน็ตกรณีศึกษามหาวิทยาลัยวงศ์ชวลิตกุล (ชลธี ศิลา)
สรุปผลการวิจัย
- ใช้เวลาในการจัดการข้อมูลน้อยกว่าชุดที่ 1
- ค้นหากฎความสัมพันธ์ได้น้อยกว่าข้อมูลชุดที่ 1
9.บทบาทและศักยภาพด้านการคมนาคมของจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนไทย - ลาวในพื้นที่จังหวัดน่าน (ธเนศ เฮ่ประโคน)
สรุปผลการวิจัย
วิธีการดำเนินวิจัย
1.ในระยะเวลา1สัปดาห์ ระหว่างวันที่1-7 ตุลาคม2560 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเช่นผู้นำชุมชนหรือผู้ให้บริการ 15คน
2.สุ่มตัวอย่างเเบบเจาะจงและเเบ่งชั้นภูมิอย่างง่ายประเภทของสินค้าเริ่มต้นที่จะขายของ
3.วิจัยเพื่อศักยภาพเส้นทางของคมนาคมที่เกี่ยวเนื่องกับจุดผ่อนปรนการค้าชายแดน
4.การดำเนอนงานโดยเก็บข้อมูลทางกายภาพของถนนที่เกี่ยวเนื่องจำเเนกประเภทถนน
สรุปผล
ดังนั้นหากต้องส่งศักยภาพของจุดปรนในด้านการค้าจึงควรจำเป็นอย่างยิ่งที่ปรับปรุงสภาพผิวทางสนันสนุนการค้าชายเเดนในระดับท้องถิ่นที่ปรากฏที่จุดปรนในการค้าในบ้านใหม่ชายแดด อำเภอสองเเถว จ.น่าน
10.การออกแบบระบบความควบคุมปั๊มสุญญากาศสำหรับใช้ในการรักษา (ฐานุตต์ จิตสุภาบุญกิจ)
สรุปผลการวิจัย
เป็นการปฐมพยาบาลแบบใช้ระบบความควบคุมปั๊มสุญญกาศสำหรับใช้ในการรักษา เพื่อให้บาลแผลมีการประสานเซลล์ให้แผลหายเร็วขึ้น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น