สรุปสิ่งที่ได้จากการไปศึกษาดูงาน

บริษัท ชลประทานซีเมนต์จำกัด(มหาชน) 


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ชลประทาน ปูนซีเมนต์


http://www.poonmix.com/news-article/html

บริษัทเริ่มมีโรงงานผลิตปูนซีเมนต์แห่งแรกเมื่อปี 2501 อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์เริ่มจากการผลิตในระบบเผาเปียก wet Process มีกำลังการผลิต 300 ตันต่อวัน เพื่อใช้ในการสร้างเขื่อนภูมิพล (12ก.ย 2499)

ต่อมาเมื่อความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ขยายตัวมากขึ้นบริษัทจึงจัดตั้งโรงงานชลประทานซีเมนต์แห่งที่สองที่อำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่18 พฤษภาคม 2514

บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2499 ต่อมาในปี พ.ศ. 2501 บริษัทฯ ได้ทำการก่อสร้างโรงงานปูนซีเมนต์แห่งแรกขึ้นที่ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางเหนือประมาณ 185 กิโลเมตร ในระยะแรกโรงงานมีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์วันละ 360 ตัน และต่อมาได้มีการปรับปรุงเป็นระยะๆ จนกระทั่งปัจจุบันนี้โรงงานตาคลีมีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์ 2,700 ตันต่อวัน

ปัจจุบันนี้ โรงงานปูนซีเมนต์ของบริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด ทั้งสองแห่งคือ โรงงานตาคลีและโรงงานชะอำ มีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์รวมกันทั้งสิ้นปีละ 2.3 ล้าน ตัน และผลิตปูนซีเมนต์ออกจำหน่ายหลายประเภทด้วยกัน ได้แก่

ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท I ; i.work บัวแดง , i.pro บัวแดง เอ๊กซ์ตร้า

ปูนซีเมนต์ผสม; i.pro บัวเขียว i.pro บัวฟ้า i.pro บัวซูเปอร์

ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท III ; i.speed บัวดำ

ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภท V ; i.idro บัวฉลาม

ปูนซีเมนต์สำหรับงานขุดเจาะบ่อน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ; i.tech Well Cement

ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก; i.pro บัวแดงไฮเทค

การขนส่งสมัยก่อน

ทางรถยนต์,ทางน้ำ

มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเขื่อนปูนที่ใช้ในการสร้างเขื่อน ASTM ซึ่งเขื่อนภูมิพลเป็นเขื่อนที่หนาที่สุดปัจจุบันบริษัทชลประทานซีเมนต์ จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมกิจกรรมกับบริษัทปูนซีเมนต์เอเชียจำกัด(มหาชน) ทำให้บริษัทมีความแข็งแกร่งทางธุรกิจและศักยภาพทางการบริหารที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันและสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างหลากหลาย

ขั้นตอนการผลิตปูนซีเมนต์

1. นำวัตถุดิบได้แก่หินปูนหินดินดานหรือดินเหนียวและศิลาแลงมาผสมจนออกมาเป็นดินผง

2. ลำเลียงวัตถุดิบที่ได้ผ่านหม้ออบความร้อน

3. เข้าสู่กระบวนการเผาปูน

4. นำปูนเม็ดและได้ยิปซัน

5. บรรจุปูนซีเมนต์ตามมาตรฐาน

ในปี2556 บริษัทได้ปรับโฉมผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อก้าวสู่การสร้างภาพลักษณ์และการสื่อสารสินค้าระดับโลก

นโยบายการรักษาสิ่งแวดล้อม

-ด้านความปลอดภัย

-ด้านอนุรักษ์ธรรมชาติ-ด้านพลังงาน

-ด้านสิทธิมนุษยชน

-ด้านสุขภาพ

-ด้านสังคม

ส่วนประกอบทางเคมีของซีเมนต์/วัตถุดิบ

ส่วนประกอบหลักทางเคมีของซีเมนต์คือ แคลเซียออไซด์,ซิลิกา,อะลูมินา


กรรมวิธีการผลิตปูนซีเมนต์

-กรรมวิธีการเผาเปียก

-กรรมวิธีการเผากึ่งแห้ง

-กรรมวิธีการเผาแห้ง

กรรมวิธีการเผาแห้ง

1. การจัดเตรียมวัตถุดิบ หินปูน 80% ดินเดลย์15% ศิลาแลง 5%

2. การบดและการผสมวัตถุดิบ วัตถุดิบบดละเอียด

3. การเผาวัตถุดิบได้ CLLNKER เป็น intermediate product

4. การบดซีเมนต์ CLLNKER95%+Gypsum 5%

5. การบรรจุและจัดส่ง ปูนซีเมนต์ผง& ปูนซิเมนต์ถุง

ชนิดของปูนซีเมนต์

-ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่1 (บัวแดง)-ปูนซีเมนต์ผสม (สีเขียว)

-ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่5

-ปูนซีเมนต์สำหรับขุดเจาะบ่อน้ำมัน

อุปสรรคส่วนใหญ่ของการผลิต

-เรื่องของวัตถุดิบ

-เห็นอายุไม่เกิน 5 ปีจะหมด

-เครื่องจักรเทคโนโลยีบางอย่างไม่อัพเกรดหายากเรื่องอะไหล่บางส่วน 



บริษัท สยามคราฟท์ อุตสาหกรรม จำกัด โรงงานบ้านโป่ง


SCG Banpong complex

          ฝ่ายสื่อสารองค์กรและการตลาด แผนกสมาชิกสัมพันธ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ขอนำท่านสมาชิกที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษาเยี่ยมชมโรงงาน ในโครงการ “สมาชิกพบสมาชิก” ณ บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จำกัด ผู้ผลิตกระดาษภายใต้แบรนด์ SCG Paper ณ โรงงานบ้านโป่ง จ.ราชบุรี

SCG Paper ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์กระดาษแบบครบวงจร ประกอบด้วย เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษอุตสาหกรรม และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งมีคุณภาพมาตรฐานโลก เป็นที่ยอมรับของลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเป็นผู้นำตลาดทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียน เป็นอีกหนึ่งธุรกิจของเอสซีจี ที่มีความมุ่งมั่น สรรค์สร้างนวัตกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตอบสนองผู้บริโภค ก้าวสู่สังคมสีเขียว (Green Society) และนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

Waste water treatment Process

-บำบัดทางชีวภาพ

-บำบัดทางเคมี(สารส้ม)

-บำบัดทางกายภาพ

การกำจัดตะกอน

-รีดน้ำออกจากตัว ตะกอน

-ถ้าเป็นตัวเชื้อจุลินทรีย์ส่งให้พนักงานเผาทิ้ง

รีดน้ำออกจากตัวตะกอน > หน้าที่เครื่องจักร

ถ้าเป็นจุลินทรีย์จะส่งให้โรงงานทำลายทิ้ง


หน้าที่หลักๆ การเตรียมเยื่อ

Locc กระดาษลังเก่า

Aocc เลือกที่อิมพอร์ตมาจาก

- Wire part

- Press part

- Pryer part

- Size precc

- Dryer purt

- Pell station

การรับน้ำ

ระบบที่ 1 รับน้ำจากบริษัทสะอาดกว่าโรงอื่น

ระบบที่ 2 รับน้ำจากสยามคราฟท์

ระบบที่ 3 รับน้ำจากโรงเยื่อ

ระบบที่ 4 บำบัดโดยไม่ใช้อากาศ ( IC Reactor )

ระบบบำบัดน้ำทิ้ง ลงสู่แม่น้ำแม่กลอง

การผลิตกระดาษ

- ส่วนผลิตที่ 1 / PN1, PN2, PN3

- ส่วนผลิตที่ 2

1. Ram Material กระดาษรีไซเคิล

- ยูคา/เยื่อใยสั้น

2. Waste Plant #16 Diagram

- ทำความสะอาดให้อยู่แต่เนื้อเยื่อสะอาด

- โดยการใช้มอเตอร์ขับ หมุนเหมือนเครื่องซักผ้าฝาหน้า

- การใส่กระดาษต้องใส่น้ำลงไปด้วย

3. Paper Marketing Process

- Wire Part

- Press Part

- Dryer Part

- Reel Station (ส่งมาเก็บไว้ก่อน)

- Dryer
Part 


- Size press 

                           ในภาพอาจจะมี 6 คน, คนที่ยิ้ม, ผู้คนกำลังยืน และ สถานที่กลางแจ้ง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับการปฎิบัติงานทางธุรกิจ

บทที่ 4 การจัดการฐานข้อมูล